ซีดีรอมคืออะไร : What is CD-ROM
ซีดีรอม (CD ROM ย่อมาจาก Compact disc Read Only Memory) เป็นสื่อบันทึกข้อมูลชนิดหน่วยเก็บ
ข้อมูลสำรอง (Secondary Storage
Media) ลักษณะเป็นแผ่นจานกลมคล้ายแผ่นเสียงหรือแผ่นคอมแพ็คดิสก์สำหรับฟังเพลง ข้อดีคือ เก็บ
ข้อมูลได้ปริมาณมากกว่าดิสก์เก็ต ซีดีรอม 1 แผ่นสามารถเก็บข้อมูล
เทียบเท่ากับดิสก์เก็ตความจุ 1.44 MB จำนวน 600 แผ่น หรือเท่ากับฮาร์ดดิสก์ขนาดความจุ 600 MB ใน
ขณะที่ราคาของซีดีรอมถูกกว่าฮาร์ดดิสก์ที่มีความจุเท่ากัน
จากข้อดีดังกล่าวจึงมีผู้ผลิตซอฟต์แวร์ประเภทเกมส์และโปรแกรมบรรจุในซีดีรอมมากขึ้น
ประเภทของซีดีรอม
เมื่อดูจากสภาพภายนอกจะเห็นว่าซีดีรอมแต่ละแผ่นมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ แต่แท้ที่จริง
นั้นซีดีรอมแบ่งออกได้หลายประเภท การแยกประเภทของ
ซีดีรอมนั้น แยกตามข้อกำหนดของหนังสือที่ระบุเกี่ยวกับมาตรฐานการผลิตสื่อเก็บข้อมูลซีดีรอม เช่น
Yellow CD หมายถึง ซีดีรอมที่ถูกผลิตตามข้อหนังสือหน้าปก
สีเหลือง เป็นต้น
ปัจจุบันแบ่งประเภทของซีดีรอมออกได้หลายประเภท ตามสีของหน้าปกหนังสือที่กำหนด
ลักษณะของซีดีรอม ดังต่อไปนี้
– Yellow CD หรือ DATA Storage CD
– Red CD / Audio CD
– CD-ROM XA หรือ Multi-session CD หรือ ISO 9660
– Mixed Mode CD
Yellow CD หรือเรียกว่า DATA Storage CD
เป็นที่รู้จักกันในชื่อของซีดีรอมประเภทที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูล (Data CD) มักพิมพ์คำว่า Data Storage
บนแผ่น แผ่นซีดีรอมประเภทนี้ถูกนำมาเก็บข้อมูล
ที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ ข้อมูลจะถูกบันทึกเป็นแนวเกลียว (Spiral) จากวงรอบ (Track) ส่วนในของแผ่นไ
ปยังวงรอบส่วนนอก ข้อมูลจะถูกเขียนครั้งละหนึ่งบิตตามลำดับ
โครงสร้างของการบันทึกข้อมูลทางตรรกะ (Logical Format) ข้อมูลจะถูกบันทึกในลักษณะของแผนภูมิ
ต้นไม้ (Tree) และไดเรคทอรี่ (Directory) และไฟล์
ซึ่งคอมพิวเตอร์เข้าใจ
การใช้งาน DATA-CD
– ใช้เก็บข้อมูล
– สำหรับสำรองข้อมูลจากฮาร์ดดิสก์ หรือจากสื่อบันทึกข้อมูลชนิดอื่นๆ
– สำหรับทดสอบบันทึกข้อมูลก่อนที่จะส่งแผ่นซีดีไปเป็นมาสเตอร์
– สำหรับการบันทึกข้อมูลเพื่อใช้งานภายในสำนักงาน
Red CD / AudiO CD
รู้จักกันแพร่หลายในชื่อของ Audio CD หรือคอมแพ็คดิสก์ คือแผ่นซีดีรอมที่มีไว้สำหรับฟังเพลง ซึ่ง
ประกอบด้วย Track ของ Digital Audio ที่ถูกบันทึกลงไปใน
Compact Disc – Digital Audio (CD-DA) รูปแบบการเก็บข้อมูลเพลงเป็นรูปแบบสากล คือนำไปใช้ได้
ทั่วโลกและใช้ได้กับหลายๆ สื่อ CD-DA แผ่นหนึ่งมี
Track ได้ 99 Track
CD-ROM XA หรือ Multi-session CD
Multi-session CD คือซีดีรอมที่ถูกผลิตตามมาตรฐาน ISO 9660 ข้อมูลในซีดีรอมจะมีมากกว่า 1 session
หนึ่ง session คือการบันทึกข้อมูลต่อเนื่องกัน
หนึ่งส่วน เมื่อปิด Session ดังกล่าว และเปิด Session ใหม่ ข้อมูลก็จะถูกบันทึกโดยไม่ต่อเนื่องกับ session
เดิม ทำให้ใช้ประโยชน์จากซีดีรอมแบบ Multi-
session ในการ Update ข้อมูลหรือบันทึกข้อมูลเพิ่มเติม
ประโยชน์จากการใช้ซีดีรอมแบบ Multi – Session
– การสำรองข้อมูลที่มีขนาดใหญ่
– สำหรับใช้ในการทำข้อมูลที่ต้องการแจกจ่ายเมื่อมีการอัปเดทข้อมูล
Mixed Mode
Classic Mixed Mode หรือ Mixed Mode ยุคเบื้องต้นนั้นคือแผ่นซีดีรอมที่มีข้อมูลใน Track แรก ตามด้วย
Audio ใน Track
ต่อไปอีกหนึ่ง Track หรือหลายๆ Track โดยบรรจุใน session เดียว Mixed-Mode CD ใช้งานได้ดีกับ
คอมพิวเตอร์
อย่างไรก็ตามยังมีปัญหาบางประการเกี่ยวกับ Classic Mixed Mode เนื่องจากหากบังเอิญว่าข้อมูลใน
Track แรกนั้นนำมาใช้กับคอมพิวเตอร์ได้ แต่กรณีนี้
บรรดาเครื่องเล่นซีดีของชุดเครื่องเสียงจะไม่สามารถใช้งานได้ ตรงกันข้ามอาจเกิดความเสียหายได้
เพราะใน Track ของข้อมูลซึ่งเป็น Track แรกนั้นคำนวณไม่ได้ว่า
ปริมาณสัญญาณที่ถูกส่งออกมานั้น อาจจะมากขนาดที่ทำให้ลำโพงเสียหายได้ ถึงแม้ว่าเครื่องเล่นซีดี
บางตัวจะสามารถตรวจจับ CD-track และอ่านข้ามไป แต่โดยปกติ
เครื่องเล่นซีดีจะไม่มีฟังก์ชั่นนี้ บรรดาผู้ผลิตเครื่องเล่นซีดีที่ให้ความสนใจเกี่ยวกับการใช้งานซีดีรอม
ประเภทนี้ต่างก็กลัวปัญหา และเริ่มมองหาวิธีการใหม่ๆ นั้นก็คือ
CD Extra
CD Extra
CD Extra หรือที่รู้จักกันในชื่อของ CD Plus หรือ Enhance CD เป็นวิธีการแก้ปัญหาเมื่อผู้ผลิตซีดีรอม
ต่างก็มองเห็นว่าผู้ผลิตไดรฟ์ซีดีรอม
ปัจจุบันผลิตแต่ไดรฟ์ ที่สามารถอ่านข้อมูลแบบ Multi-Session หมดแล้ว
CD Extra จะประกอบด้วย 2 session session แรกเป็น CD-DA ที่สามารถมีได้ถึง 98 Track ประกอบด้วย
Audio Track และ session ที่สองเป็น
Data Track ซึ่งถูกเขียนในรูปแบบของ CD-ROM XA เมื่อเอาแผ่นซีดีที่เป็น CD Extra มาใช้กับเครื่อง
เล่นซีดี session แรกที่เป็นส่วนของ Audio จะถูกนำมา
เล่นแต่เครื่องเล่นซีดีจะไม่อ่านข้อมูลที่อยู่นอกเหนือจาก Session แรก ดังนั้นส่วนของ Data Track จึงไม่
ถูกเล่นในเครื่องเล่นซีดี เมื่อนำเอาซีดีรอมดังกล่าวมาใช้กับ
เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยปกติเครื่องคอมพิวเตอร์จะอ่าน session สุดท้ายก่อน ดังนั้นตัวของ Data จึง
ถูกอ่านในครั้งแรก
คุณลักษณะของ CD Extra ถูกระบุไว้ใน Blue book Standard อย่างไรก็ตามในข้อระบุของ Blue Book
Standard ไม่ได้กำหนดว่าซีดีรอมที่จะถูกผลิต
ภายใต้มาตรฐานจำเป็นต้องเป็นซีดีรอมแบบ Multi – Session
คุณสมบัติของแผ่นซีดีรอม
CD-ROM เป็นสื่อที่มีคุณสมบัติที่หลากหลายต่างจากสื่อประเภทอื่นหลายประการด้วยกัน เช่น
– ความจุข้อมูลมหาศาล ซีดีรอมหนึ่งแผ่นสามารถบรรจุข้อมูลได้ถึง 680 เมกกะไบท์ เทียบได้กับ
หนังสือ 250,000 หน้า หรือข้อความในกระดาษพิมพ์ดีดจำนวน
300,000 แผ่น หรือหนังสือสารานุกรม 1 ชุดจำนวน 24 เล่ม หรือภาพสี 5,000 ภาพ หรือเท่ากับข้อมูลใน
แผ่น floppy disk ขนาด 104 เมกกะไบท์ 460 แผ่น หรือ
ใน hard disk ขนาด 20 เมกกะไบท์ ถึง 34 ชุด ถ้าบุคคลคนหนึ่งอ่านหนังสือหนึ่งหน้าต่อหนึ่งนาทีโดย
ไม่หยุดพักในเวลา 12 ชั่วโมงต่อวัน ประมาณว่าจะต้องใช้เวลา
เกือบ 11 เดือนจึงจะอ่านข้อมูลในแผ่น CD-ROM แผ่นหนึ่งได้หมด
– บันทึกข้อมูลนานาประเภท อยู่ในลักษณะของดิจิทัล ( digital encoding ) สามารถบันทึกข้อมูลใน
ลักษณะตัวอักษร ภาพถ่ายสีและขาวดำ ภาพเคลื่อนไหว ภาพกราฟิค
เสียงพูด และเสียงดนตรี ได้อย่างมีคุณภาพสูง
– การสืบค้นฉับไว CD-ROM บรรจุข้อมูลได้มากมายมหาศษลแต่สามารถค้นหาข้อมูลได้รวดเร็วและ
แม่นยำภายในเวลาเพียง1 วินาทีเท่านั้น
– มาตรฐานสากล แผ่น CD-ROM มีรูปแบบมาตราฐานจึงสามารถใช้กับหน่วยขับ CD-ROM หรือเครื่อง
เล่น CD-ROM ทั่วไปได้เหมือนกัน
– ราคาไม่แพง ทั้งแผ่นและเครื่องเล่นซีดีรอมมีราคาถูกลงอย่างมากและมีอย่างแพร่หลาย
– อายุการใช้งานนาน CD-ROM มีอายุการใช้งานนาน แต่แผ่นก็สามารถเสื่อมสภาพได้จากความชื้นและ
ความร้อนต่างๆ
– ความคงทนของข้อมูล CD-ROM เป็นสื่อที่ไม่กระทบกระเทือนต่อสนามแม่เหล็กจึงทำให้ข้อมูลอยู่คง
ที่ตลอดไป และที่สำคัญ ไม่ติดไวรัสเนื่องจากไม่สามารถเขียน
ทับได้
– ประหยัด เมื่อเปรียบเทียบขนาดเนื้อที่การบันทึกข้อมูลระหว่างแผ่น CD-ROM กับแผ่น floppy disk
แล้ว จะเห็นได้ว่า CD-ROM แผ่นหนึ่ง สมารถบรรจุข้อมูลได้
มากกว่าแผ่น floppy disk หลายร้อยเท่า จึงทำให้ประหยัดเงินในการใช้ CD-ROM เพียงแผ่นเดียวแต่
บันมึกข้อมูลได้มากกว่า
– ความสะดวก เนื่องจาก CD-ROM เป็นแผ่นที่มีขนาดเล็ก จึงทำให้ไม่เปลืองเนื้อที่ในการเก็บ สามารถ
พกพาไปใช้ในที่ต่างๆได้โดยสะดวก และส่งต่อไปยังผู้อื่นได้ง่าย
โดยทางไปรษณีย์
กระบวนการผลิตซีดีรอม
การผลิตซีดีรอมไม่เหมือนกับการผลิตแผ่นเสียง ขั้นตอนแรก คือการสร้างแผ่นมาสเตอร์ข้อมูล
ที่จะถูกบันทึกลงบนแผ่นมาสเตอร์นี้ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลที่เป็นภาพ
เสียง หรือข้อมูลทั่วไป ซึ่งจะ มีรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลต่างกัน โดยใช้กำลังแสงเลเซอร์ที่มีควมเข้มข้น
สูงมากกว่าเครื่องเล่น ซีดีทั่วไปหลายเท่าตัว ดังนั้นจึงต้องใช้เทคนิค
การถอดรหัสข้อมูลแบบพิเศษที่เรียกว่า miroscopic pits เมื่อได้แผ่นซีดีมาสเตอร์แล้วจึงนำมาใช้ทำเป็น
ปั๊มโลหะต้นแบบเพื่อทำสำเนาต่อไป การผลิตแผ่นซีดีรอมทั่วไป
จะใช้แผ่น ซีดีเปล่ามาทำการปั๊มด้วย master stamps หลังจากนั้นจึงนำไปเคลือบด้วยสาร Poly carbonate
บางๆซึ่งจะทำให้แผ่นซีดี ดูสะท้อนแสงเป็นเงาแวววาว
และเป็นส่วนที่สะท้อนแสงที่ยิงมาจากตัวกำเนอแสงเลเซอร์ในไดรฟ์ซีดีรอม จากนั้นก็นำมา เคลือบด้วย
แล็กเกอร์บางๆอีกหนึ่งขั้นสุดท้ายก็พิมพ์สลากรายละเอียด ของ
แผ่นดิสก์ ติดด้านบนของแผ่นเป็นขั้นตอนสุดท้าย พื้นผิวที่เป็นส่วนเก็บข้อมูลอยู่บริเวณด้านบนของ
แผ่นซีดีรอมนั่นเอง นั่นคืออยู่ชั้นถัดลงไปจากสลากที่ติดทับเอาไว้ และ
ไดร์ฟซีดีรอมอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีด้านล่างของแผ่น โดยโฟกัสแสงเลเซอร์ผ่านความหนา 1.2
มิลลิเมตร ของสารโพลีคาร์บอเนต นี่เป็นเหตุผลหนึ่งที่ว่าทำไมด้านล่างของ
แผ่นซีดีรอมที่รอยขีดข่วนเพียงเล็กน้อยไม่ส่งผล เสียหายต่อข้อมูลในแผ่น เพราะรอยขีดข่วนด้านบน
ของแผ่นเพียงเล็กน้อยไม่สามารถเข้าลึกไปถึงส่วนที่เก็บข้อมูลเอาไว้
ในอีกมุมหนึ่ง รอยขีดข่วนด้านบนของแผ่นเพียงเล็กน้อยก็สามารถทำลายสารโพลีคาร์บอเนตที่เคลือบ
ไว้อย่างบางๆได้ ซึ่งจะมีผลทำให้แผ่นซีดีรอมเสียหายทันที แม้
แผ่นซีดีรอมทนทานกว่าแผ่นฟลอบปี้ดิสก์ แต่จะโค้งงอได้อย่างง่ายดาย หากถูกทิ้งไว้กลางแดด ดังนั้น
จึงต้องเก็บรักษาแผ่นอย่างถูกวิธี โดยการใส่ไว้ใน caddy
หรือกล่องใส่แผ่นซีดีโดยเฉพาะ
เทคนิคของการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นซีดีรอม
แผ่นซีดีรอม เป็นสื่อเก็บข้อมูลแบบดิจิทัล ข้อมูลจะถูกจัดเก็บในรูปของบิต 0 และ 1 ในฮาร์ดดิสก์
นั้นตัวแผ่นจากจานแม่เหล็กจะบันทึกข้อมูลโดยอาศัยการ
เหนี่ยวนำเซลล์อนุภาค แม่เหล็กขนาดเล็กหลายๆเซลล์เข้าด้วยกัน แต่แผ่นซีดีรอมนั้นใช้เทคนิคการ
บันทึกข้อมูลที่ต่าง กันไป โดยเริ่มแรกแผ่นดิสก์จะมีสภาพราบเรียบ
ซึ่งจะเรียกว่า สวนLandsจากนั้นจึงถูกเผาด้วย ลำแสงเลเซอร์ตามกระบวนการผลิตที่ได้กล่าวมาข้าง
ต้น
จนกลายเป็นหลุมลึกลงไป เป็นส่วนที่ เราเรียกว่า pits
ดังนั้นเมื่อแผ่นดิสก์หมุนอยู่ในตัวไดร์ฟแสงเลเซอร์จะพาดผ่านจากส่วน Lands จะสะท้อนกลับออกมา
แต่ถ้าผ่านส่วน Pits จะกระจายหายไป ส่วน photodetertor
ในหัวอ่านเลนส์ จะทราบถึงความแตกต่างสองประการนี้และนั่นคือคำตอบว่ามันทราบได้อย่างไรว่าบิต
ข้อมูลนั้นเป็น 1 หรือ 0
– สำหรับสำรองข้อมูลจากฮาร์ดดิสก์ หรือจากสื่อบันทึกข้อมูลชนิดอื่นๆ
– สำหรับทดสอบบันทึกข้อมูลก่อนที่จะส่งแผ่นซีดีไปเป็นมาสเตอร์
– สำหรับการบันทึกข้อมูลเพื่อใช้งานภายในสำนักงาน
Red CD / AudiO CD
รู้จักกันแพร่หลายในชื่อของ Audio CD หรือคอมแพ็คดิสก์ คือแผ่นซีดีรอมที่มีไว้สำหรับฟังเพลง ซึ่ง
ประกอบด้วย Track ของ Digital Audio ที่ถูกบันทึกลงไปใน
Compact Disc – Digital Audio (CD-DA) รูปแบบการเก็บข้อมูลเพลงเป็นรูปแบบสากล คือนำไปใช้ได้
ทั่วโลกและใช้ได้กับหลายๆ สื่อ CD-DA แผ่นหนึ่งมี
Track ได้ 99 Track
CD-ROM XA หรือ Multi-session CD
Multi-session CD คือซีดีรอมที่ถูกผลิตตามมาตรฐาน ISO 9660 ข้อมูลในซีดีรอมจะมีมากกว่า 1 session
หนึ่ง session คือการบันทึกข้อมูลต่อเนื่องกัน
หนึ่งส่วน เมื่อปิด Session ดังกล่าว และเปิด Session ใหม่ ข้อมูลก็จะถูกบันทึกโดยไม่ต่อเนื่องกับ
session เดิม ทำให้ใช้ประโยชน์จากซีดีรอมแบบ Multi-
session ในการ Update ข้อมูลหรือบันทึกข้อมูลเพิ่มเติม
ประโยชน์จากการใช้ซีดีรอมแบบ Multi – Session
– การสำรองข้อมูลที่มีขนาดใหญ่
– สำหรับใช้ในการทำข้อมูลที่ต้องการแจกจ่ายเมื่อมีการอัปเดทข้อมูล
Mixed Mode
Classic Mixed Mode หรือ Mixed Mode ยุคเบื้องต้นนั้นคือแผ่นซีดีรอมที่มีข้อมูลใน Track แรก ตาม
ด้วย Audio ใน Track
ต่อไปอีกหนึ่ง Track หรือหลายๆ Track โดยบรรจุใน session เดียว Mixed-Mode CD ใช้งานได้ดีกับ
คอมพิวเตอร์
อย่างไรก็ตามยังมีปัญหาบางประการเกี่ยวกับ Classic Mixed Mode เนื่องจากหากบังเอิญว่าข้อมูลใน
Track แรกนั้นนำมาใช้กับคอมพิวเตอร์ได้ แต่กรณีนี้
บรรดาเครื่องเล่นซีดีของชุดเครื่องเสียงจะไม่สามารถใช้งานได้ ตรงกันข้ามอาจเกิดความเสียหายได้
เพราะใน Track ของข้อมูลซึ่งเป็น Track แรกนั้นคำนวณไม่ได้ว่า
ปริมาณสัญญาณที่ถูกส่งออกมานั้น อาจจะมากขนาดที่ทำให้ลำโพงเสียหายได้ ถึงแม้ว่าเครื่องเล่นซีดี
บางตัวจะสามารถตรวจจับ CD-track และอ่านข้ามไป แต่โดยปกติ
เครื่องเล่นซีดีจะไม่มีฟังก์ชั่นนี้ บรรดาผู้ผลิตเครื่องเล่นซีดีที่ให้ความสนใจเกี่ยวกับการใช้งานซีดีรอม
ประเภทนี้ต่างก็กลัวปัญหา และเริ่มมองหาวิธีการใหม่ๆ นั้นก็คือ
CD Extra
CD Extra
CD Extra หรือที่รู้จักกันในชื่อของ CD Plus หรือ Enhance CD เป็นวิธีการแก้ปัญหาเมื่อผู้ผลิตซีดีรอม
ต่างก็มองเห็นว่าผู้ผลิตไดรฟ์ซีดีรอม
ปัจจุบันผลิตแต่ไดรฟ์ ที่สามารถอ่านข้อมูลแบบ Multi-Session หมดแล้ว
CD Extra จะประกอบด้วย 2 session session แรกเป็น CD-DA ที่สามารถมีได้ถึง 98 Track ประกอบด้วย
Audio Track และ session ที่สองเป็น
Data Track ซึ่งถูกเขียนในรูปแบบของ CD-ROM XA เมื่อเอาแผ่นซีดีที่เป็น CD Extra มาใช้กับเครื่อง
เล่นซีดี session แรกที่เป็นส่วนของ Audio จะถูกนำมา
เล่นแต่เครื่องเล่นซีดีจะไม่อ่านข้อมูลที่อยู่นอกเหนือจาก Session แรก ดังนั้นส่วนของ Data Track จึงไม่
ถูกเล่นในเครื่องเล่นซีดี เมื่อนำเอาซีดีรอมดังกล่าวมาใช้กับ
เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยปกติเครื่องคอมพิวเตอร์จะอ่าน session สุดท้ายก่อน ดังนั้นตัวของ Data จึง
ถูกอ่านในครั้งแรก
คุณลักษณะของ CD Extra ถูกระบุไว้ใน Blue book Standard อย่างไรก็ตามในข้อระบุของ Blue Book
Standard ไม่ได้กำหนดว่าซีดีรอมที่จะถูกผลิต
ภายใต้มาตรฐานจำเป็นต้องเป็นซีดีรอมแบบ Multi – Session
คุณสมบัติของแผ่นซีดีรอม
CD-ROM เป็นสื่อที่มีคุณสมบัติที่หลากหลายต่างจากสื่อประเภทอื่นหลายประการด้วยกัน เช่น
– ความจุข้อมูลมหาศาล ซีดีรอมหนึ่งแผ่นสามารถบรรจุข้อมูลได้ถึง 680 เมกกะไบท์ เทียบได้กับ
หนังสือ 250,000 หน้า หรือข้อความในกระดาษพิมพ์ดีดจำนวน
300,000 แผ่น หรือหนังสือสารานุกรม 1 ชุดจำนวน 24 เล่ม หรือภาพสี 5,000 ภาพ หรือเท่ากับข้อมูลใน
แผ่น floppy disk ขนาด 104 เมกกะไบท์ 460 แผ่น หรือ
ใน hard disk ขนาด 20 เมกกะไบท์ ถึง 34 ชุด ถ้าบุคคลคนหนึ่งอ่านหนังสือหนึ่งหน้าต่อหนึ่งนาทีโดยไม่
หยุดพักในเวลา 12 ชั่วโมงต่อวัน ประมาณว่าจะต้องใช้เวลา
เกือบ 11 เดือนจึงจะอ่านข้อมูลในแผ่น CD-ROM แผ่นหนึ่งได้หมด
– บันทึกข้อมูลนานาประเภท อยู่ในลักษณะของดิจิทัล ( digital encoding ) สามารถบันทึกข้อมูลใน
ลักษณะตัวอักษร ภาพถ่ายสีและขาวดำ ภาพเคลื่อนไหว ภาพกราฟิค
เสียงพูด และเสียงดนตรี ได้อย่างมีคุณภาพสูง
– การสืบค้นฉับไว CD-ROM บรรจุข้อมูลได้มากมายมหาศษลแต่สามารถค้นหาข้อมูลได้รวดเร็วและ
แม่นยำภายในเวลาเพียง1 วินาทีเท่านั้น
– มาตรฐานสากล แผ่น CD-ROM มีรูปแบบมาตราฐานจึงสามารถใช้กับหน่วยขับ CD-ROM หรือเครื่อง
เล่น CD-ROM ทั่วไปได้เหมือนกัน
– ราคาไม่แพง ทั้งแผ่นและเครื่องเล่นซีดีรอมมีราคาถูกลงอย่างมากและมีอย่างแพร่หลาย
– อายุการใช้งานนาน CD-ROM มีอายุการใช้งานนาน แต่แผ่นก็สามารถเสื่อมสภาพได้จากความชื้น
และความร้อนต่างๆ
– ความคงทนของข้อมูล CD-ROM เป็นสื่อที่ไม่กระทบกระเทือนต่อสนามแม่เหล็กจึงทำให้ข้อมูลอยู่คง
ที่ตลอดไป และที่สำคัญ ไม่ติดไวรัสเนื่องจากไม่สามารถเขียน
ทับได้
– ประหยัด เมื่อเปรียบเทียบขนาดเนื้อที่การบันทึกข้อมูลระหว่างแผ่น CD-ROM กับแผ่น floppy disk
แล้ว จะเห็นได้ว่า CD-ROM แผ่นหนึ่ง สมารถบรรจุข้อมูลได้
มากกว่าแผ่น floppy disk หลายร้อยเท่า จึงทำให้ประหยัดเงินในการใช้ CD-ROM เพียงแผ่นเดียวแต่บัน
มึกข้อมูลได้มากกว่า
– ความสะดวก เนื่องจาก CD-ROM เป็นแผ่นที่มีขนาดเล็ก จึงทำให้ไม่เปลืองเนื้อที่ในการเก็บ สามารถ
พกพาไปใช้ในที่ต่างๆได้โดยสะดวก และส่งต่อไปยังผู้อื่นได้ง่าย
โดยทางไปรษณีย์
กระบวนการผลิตซีดีรอม
การผลิตซีดีรอมไม่เหมือนกับการผลิตแผ่นเสียง ขั้นตอนแรก คือการสร้างแผ่นมาสเตอร์ข้อมูล
ที่จะถูกบันทึกลงบนแผ่นมาสเตอร์นี้ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลที่เป็นภาพ
เสียง หรือข้อมูลทั่วไป ซึ่งจะ มีรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลต่างกัน โดยใช้กำลังแสงเลเซอร์ที่มีควมเข้มข้น
สูงมากกว่าเครื่องเล่น ซีดีทั่วไปหลายเท่าตัว ดังนั้นจึงต้องใช้เทคนิค
การถอดรหัสข้อมูลแบบพิเศษที่เรียกว่า miroscopic pits เมื่อได้แผ่นซีดีมาสเตอร์แล้วจึงนำมาใช้ทำเป็น
ปั๊มโลหะต้นแบบเพื่อทำสำเนาต่อไป การผลิตแผ่นซีดีรอมทั่วไป
จะใช้แผ่น ซีดีเปล่ามาทำการปั๊มด้วย master stamps หลังจากนั้นจึงนำไปเคลือบด้วยสาร Poly carbonate
บางๆซึ่งจะทำให้แผ่นซีดี ดูสะท้อนแสงเป็นเงาแวววาว
และเป็นส่วนที่สะท้อนแสงที่ยิงมาจากตัวกำเนอแสงเลเซอร์ในไดรฟ์ซีดีรอม จากนั้นก็นำมา เคลือบด้วย
แล็กเกอร์บางๆอีกหนึ่งขั้นสุดท้ายก็พิมพ์สลากรายละเอียด ของ
แผ่นดิสก์ ติดด้านบนของแผ่นเป็นขั้นตอนสุดท้าย พื้นผิวที่เป็นส่วนเก็บข้อมูลอยู่บริเวณด้านบนของแผ่น
ซีดีรอมนั่นเอง นั่นคืออยู่ชั้นถัดลงไปจากสลากที่ติดทับเอาไว้ และ
ไดร์ฟซีดีรอมอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีด้านล่างของแผ่น โดยโฟกัสแสงเลเซอร์ผ่านความหนา 1.2
มิลลิเมตร ของสารโพลีคาร์บอเนต นี่เป็นเหตุผลหนึ่งที่ว่าทำไมด้านล่างของ
แผ่นซีดีรอมที่รอยขีดข่วนเพียงเล็กน้อยไม่ส่งผล เสียหายต่อข้อมูลในแผ่น เพราะรอยขีดข่วนด้านบน
ของแผ่นเพียงเล็กน้อยไม่สามารถเข้าลึกไปถึงส่วนที่เก็บข้อมูลเอาไว้
ในอีกมุมหนึ่ง รอยขีดข่วนด้านบนของแผ่นเพียงเล็กน้อยก็สามารถทำลายสารโพลีคาร์บอเนตที่เคลือบ
ไว้อย่างบางๆได้ ซึ่งจะมีผลทำให้แผ่นซีดีรอมเสียหายทันที แม้
แผ่นซีดีรอมทนทานกว่าแผ่นฟลอบปี้ดิสก์ แต่จะโค้งงอได้อย่างง่ายดาย หากถูกทิ้งไว้กลางแดด ดังนั้น
จึงต้องเก็บรักษาแผ่นอย่างถูกวิธี โดยการใส่ไว้ใน caddy
หรือกล่องใส่แผ่นซีดีโดยเฉพาะ
เทคนิคของการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นซีดีรอม
แผ่นซีดีรอม เป็นสื่อเก็บข้อมูลแบบดิจิทัล ข้อมูลจะถูกจัดเก็บในรูปของบิต 0 และ 1 ในฮาร์ดดิสก์
นั้นตัวแผ่นจากจานแม่เหล็กจะบันทึกข้อมูลโดยอาศัยการ
เหนี่ยวนำเซลล์อนุภาค แม่เหล็กขนาดเล็กหลายๆเซลล์เข้าด้วยกัน แต่แผ่นซีดีรอมนั้นใช้เทคนิคการ
บันทึกข้อมูลที่ต่าง กันไป โดยเริ่มแรกแผ่นดิสก์จะมีสภาพราบเรียบ
ซึ่งจะเรียกว่า สวนLandsจากนั้นจึงถูกเผาด้วย ลำแสงเลเซอร์ตามกระบวนการผลิตที่ได้กล่าวมาข้างต้น
จนกลายเป็นหลุมลึกลงไป เป็นส่วนที่ เราเรียกว่า pits
ดังนั้นเมื่อแผ่นดิสก์หมุนอยู่ในตัวไดร์ฟแสงเลเซอร์จะพาดผ่านจากส่วน Lands จะสะท้อนกลับออกมา
แต่ถ้าผ่านส่วน Pits จะกระจายหายไป ส่วน photodetertor
ในหัวอ่านเลนส์ จะทราบถึงความแตกต่างสองประการนี้และนั่นคือคำตอบว่ามันทราบได้อย่างไรว่าบิต
ข้อมูลนั้นเป็น 1 หรือ 0
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น